การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในปีนี้ นับเป็นช่วงเวลาแห่งประวัติ ศาสตร์สำหรับอุตสาหกรรมสินทรั พย์ดิจิทัลและบล็อกเชนทั่วโลก โดยเป็นครั้งแรกที่สกุลเงินดิจิ ทัลได้รับความสนใจจนกลายเป็นหนึ่ งในประเด็นของเวทีการเลือกตั้ งสหรัฐฯ ผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ต่างเปิดเผยทัศนะที่ชัดเจนต่อสิ นทรัพย์ดิจิทัล ซึ่งยิ่งสะท้อนให้เห็นถึ งความสำคัญที่เพิ่มขึ้นของสิ นทรัพย์ดิจิทัลในการกำหนดทิ ศทางเศรษฐกิจดิจิทัลในอนาคต
Public Citizen องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร (Non-Profit Organization) เปิดเผยว่า เงินสนับสนุนในการเลือกตั้ งประธานาธิบดีสหรัฐฯ เกือบครึ่งหนึ่งมาจากภาคสินทรั พย์ดิจิทัล ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความต้ องการของอุตสาหกรรมในการผลักดั นให้เกิดความชัดเจนด้านกฎระเบี ยบ ดังนั้น เมื่อการเลือกตั้งเดินทางมาถึ งช่วงโค้งสุดท้าย ความสนใจของสาธารณชนจึงหันไปที่ นโยบายของผู้สมัครแต่ละคน ที่อาจส่งผลต่อทิศทางของสินทรั พย์ดิจิทัลในอนาคต โดย โดนัลด์ ทรัมป์ เป็นผู้สมัครที่แสดงจุดยื นในการสนับสนุนสินทรัพย์ดิจิทั ลอย่างชัดเจน ในขณะที่ กมลา แฮร์ริส ที่ถึงแม้ว่าจะสนับสนุนนวั ตกรรมดิจิทัลเช่นกัน แต่ยังคงเน้นให้ความสำคัญกั บการคุ้มครองผู้บริโภคและนั กลงทุนเป็นหลัก
นายนิรันดร์ ฟูวัฒนานุกูล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของแพลตฟอร์มศูนย์ซื้ อขายและนายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ ดิจิทัล ไบแนนซ์ ทีเอช บาย กัลฟ์ ไบแนนซ์ (BINANCE TH) กล่าวว่า “เรากำลังอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหั วต่อของอุตสาหกรรมสินทรัพย์ดิจิ ทัล ที่จะแสดงให้เห็นว่าสินทรัพย์ดิ จิทัลไม่ได้เป็นเพียงแค่เครื่ องมือเก็งกำไรสำหรับนักลงทุนเท่ านั้น แต่ปัจจุบัน สินทรัพย์ดิจิทัลได้กลายมาเป็ นองค์ประกอบสำคัญของแผนขับเคลื่ อนเทคโนโลยีของประเทศ ซึ่งเป็นประเด็นที่ผู้ลงสมัครชิ งตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ทั้งสองคนไม่สามารถเพิกเฉยได้ นี่เป็นสัญญาณที่บ่งชี้ให้เห็ นว่าสินทรัพย์ดิจิทัลกำลังก้ าวข้ามเข้าสู่การยอมรับที่กว้ างขวางยิ่งขึ้นในระดับสากล”
ทรัมป์ ปะทะ แฮร์ริส: ศึกนโยบายคริปโตที่มี อนาคตทางเศรษฐกิจเป็นเดิมพัน
โดนัลด์ ทรัมป์ ได้ปรับเปลี่ยนจุดยืนของตนที่มี ต่อสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างเห็ นได้ชัด จากเดิมที่เคยมีข้อกังขาในเรื่ องนี้ ปัจจุบันเขากลับหันมาให้การสนั บสนุนอย่างจริงจัง พร้อมประกาศตนเป็น “ประธานาธิบดีแห่งสินทรัพย์ดิจิ ทัล” โดยทรัมป์ได้ให้คำมั่นสัญญาว่ าหากชนะการเลือกตั้ง เขาจะจัดตั้งสภาที่ปรึกษาบิ ทคอยน์และคริปโต รวมถึงสนับสนุนการขุดบิทคอยน์ พร้อมทั้งการลดกฎเกณฑ์ข้อบังคับ เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ อประโยชน์ต่อนักลงทุนและธุรกิจ ทั้งนี้ การสนับสนุนสินทรัพย์ดิจิทั ลของทรัมป์ยังแสดงให้เห็นอย่ างชัดเจนในเชิงปฏิบัติอีกด้วย เห็นได้จากการที่สมาชิกครอบครั วของทรัมป์ได้ริเริ่มโครงการ DeFi ในชื่อ "World Liberty Financial" ซึ่งยิ่งตอกย้ำถึงความมุ่งมั่ นที่ทรัมป์มีต่ออุตสาหกรรมนี้ อย่างแท้จริง
ทางด้าน กมลา แฮร์ริส เพิ่งเริ่มต้นยอมรับสินทรัพย์ดิ จิทัลให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่ งของนโยบายเพื่อสนับสนุ นเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และบล็อกเชน โดยจากวาระการหาเสียงล่าสุด แฮร์ริสได้ให้คำมั่นสัญญาที่ จะส่งเสริมนวัตกรรมควบคู่ไปกั บการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเข้ มงวด ซึ่งนับเป็นสัญญาณที่ดีอย่างยิ่ งสำหรับวงการคริปโต
“การที่สินทรัพย์ดิจิทัลกลายเป็ นหัวข้อสำคัญในการประชันวิสัยทั ศน์ถือเป็นสัญญาณเชิงบวก พร้อมทั้งสะท้อนให้เห็นถึ งความสำคัญที่เพิ่มขึ้ นของความร่วมมือระหว่างภาครั ฐและเอกชน ในการกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับที่ เหมาะสม ไบแนนซ์ ทีเอช ในฐานะผู้นำด้านสินทรัพย์ดิจิทั ล เราเชื่อมั่นว่ าการกำหนดนโยบายที่มีประสิทธิ ภาพ จะเป็นรากฐานที่สำคัญสำหรั บการสร้างสภาพแวดล้อมทางธุรกิ จที่ยั่งยืน โปร่งใส และแข็งแกร่ง” นายนิรันดร์ กล่าวเสริม
เมื่อใดสหรัฐฯ เปลี่ยน เมื่อนั้นนโยบายคริปโตทั่ วโลกขยับตาม
ในฐานะที่สหรัฐฯ เป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิ จใหญ่ที่สุดในโลก สหรัฐฯ จึงมีบทบาทสำคัญต่ อการกำหนดกฎระเบียบข้อบังคั บสำหรับสินทรัพย์ดิจิทัลในระดั บสากล โดยเศรษฐศาสตร์การเมืองของสหรั ฐฯ มักส่งผลกระทบต่อเนื่องต่ อตลาดคริปโตทั่วโลก รวมถึงยังมีอิทธิพลเหนือความเชื่ อมั่นของนักลงทุนและการตัดสิ นใจด้านกฎเกณฑ์ในหลายประเทศ ยกตัวอย่างเช่น การอนุมัติ Spot ETFs โดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลั กทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (SEC) ซึ่งเป็นตัวเร่งให้เกิดการยอมรั บและเสริมสร้างความชอบธรรมของสิ นทรัพย์ดิจิทัลทั่วโลก ในทำนองเดียวกันนั้น นโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรั ฐฯ อย่าง การปรับอัตราดอกเบี้ย ที่มีผลต่อกระแสเงินทุ นและการเคลื่อนไหวของตลาด ทั้งในตลาดการเงินแบบดั้งเดิม และตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลเช่นเดี ยวกัน
นอกจากนี้ การเลือกตั้งรัฐสภาของสหรัฐฯ ยังมีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิ ศทางนโยบายเกี่ยวกับคริ ปโตในอนาคตด้วยเช่นกัน โดยทัศนคติของฝ่ายนิติบัญญัติที่ มีต่อสินทรัพย์ดิจิทัลอาจเป็นปั จจัยหลักในการผลักดันหรื อชะลอการออกกฎหมายที่สำคัญ เช่น การร่างกฎหมาย FIT21 ที่มุ่งเน้นสร้างความชัดเจนในด้ านการกำกับดูแลสินทรัพย์ดิจิทัล เป็นต้น
ก้าวต่อไปของอุตสาหกรรมคริปโต
ไม่ว่าใครจะเป็นผู้ชนะในการเลื อกตั้งครั้งนี้ นโยบายด้านคริปโตของสหรัฐฯ จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมคริ ปโตทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย เพราะทั้งทรัมป์และแฮร์ริสต่ างได้แสดงให้เห็นถึงความสำคั ญของสินทรัพย์ดิจิทัล ซึ่งบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดิจิทั ลกำลังกลายเป็นประเด็นที่ พรรคการเมืองทั้งสองฝ่ายให้ ความสนใจ ดังนั้น คำถามที่สำคัญจริงๆ อาจไม่ใช่ว่า ‘สหรัฐฯ จะเข้ามาควบคุมคริปโตหรือไม่’ แต่แท้จริงแล้วคือ ‘สหรัฐฯ จะดำเนินนโยบายเกี่ยวกับคริปโตอ ย่างไรเพื่อรักษาความเป็นผู้ นำด้านเศรษฐกิจดิจิทัลของโลกต่ างหาก
ทั้งนี้ ในขณะที่สหรัฐฯ กำลังพยายามหาจุดสมดุลระหว่ างการส่งเสริมนวัตกรรมและการคุ้ มครองผู้ใช้ รัฐบาลทั่วโลกก็กำลังให้ ความสำคัญกับการควบคุมอุ ตสาหกรรมสินทรัพย์ดิจิทัลอย่ างจริงจังด้วยเช่นกัน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบระดั บโลกนี้ จึงถือเป็นโอกาสที่ดีสำหรั บประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทย ในการนำอุตสาหกรรมสินทรัพย์ดิจิ ทัลก้าวไปข้างหน้า ผ่านการเปิดรับการเปลี่ ยนแปลงทางดิจิทั ลและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ซึ่งจะช่วยเสริมแกร่งให้ ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นศูนย์ กลางดิจิทัลระดับภูมิภาค
แม้ว่าในปัจจุบัน สหรัฐฯ เองจะยังคงมีความไม่แน่ นอนทางการเมืองในระยะสั้น แต่ในระยะยาวนั้นยังแสดงให้เห็ นถึงแนวโน้มเชิงบวก จากการยอมรับสินทรัพย์ดิจิทัลที่ เพิ่มขึ้นจากภาครัฐ ภาคสถาบัน และนักลงทุนรายย่อย ที่จะมีส่วนช่วยผลักดันอนาคตที่ มั่นคงและยั่งยืนให้แก่อุ ตสาหกรรมคริปโต
“ไม่ว่าผลการเลือกตั้งจะเป็นเช่ นไร ในระยะยาวอุตสาหกรรมคริปโตจะยั งคงเติบโตอย่างมั่นคงต่อไป จากการที่ได้ถูกนำไปใช้ งานในโลกแห่งความเป็นจริง ซึ่งจะช่วยส่งเสริมความก้าวหน้ าทางด้านสังคมและเศรษฐกิ จในอนาคต” นายนิรันดร์ เน้นย้ำเพิ่มเติม
นายนิรันดร์ กล่าวสรุปว่า “ประเทศไทยมีจุดยืนพิเศษที่ สามารถได้รับประโยชน์จากการเติ บโตของสินทรัพย์ดิจิทัลทั่วโลก โดยในช่วงเวลาสำคัญเช่นนี้ ไบแนนซ์ ทีเอช จะมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์ดิจิทัลและเทคโนโลยีบล็ อกเชนเพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ปลอดภัย รวมถึงนวัตกรรมอันล้ำสมัย มาสู่ประเทศไทย ผ่านด้วยกลยุทธ์การดำเนินงานที่ ชัดเจนและมีวิสัยทัศน์ โดยเรามุ่งมั่นที่จะมี บทบาทในการสร้างการยอมรับในสิ นทรัพย์ดิจิทัลอย่างแพร่ หลายและส่งเสริมการเข้าถึ งทางการเงิน เพื่อให้ประเทศไทยยังคงเป็ นแนวหน้าในการเปลี่ยนแปลงทางดิ จิทัลระดับโลกต่อไป”